Family business สู่การเป็น SME
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต
อีกหนึ่งเรื่องเล่าจากที่ปรึกษา หลังจากที่ผู้ประกอบการได้ทำกิจการหลัก เป็นผู้ผลิตสินค้ามาอย่างต่อเนื่อง และอยากได้อาชีพที่คนในครอบครัวมีความรู้ความสามารถ และทานกันอยู่แล้ว ทั้งยังช่วยคนรอบข้างที่มีปัญหาสุขภาพได้ จึงศึกษาผลิตภัณฑ์น้ำสมุนไพร จนได้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยให้เกิดการดีท็อกซ์ (Detox) ของเสียในร่างกาย และเริ่มกิจการกันเองภายในครอบครัว และทดลองขายโดยอาศัยหน้าร้านมาระยะหนึ่ง ซึ่งได้รับเสียงตอบรับที่ดีจากตลาดท้องถิ่น จึงเป็นแรงบันดาลใจหนึ่งที่อยากเติบโต
Problematic:
1. Lack of business model ขาดความเข้าใจในโมเดลธุรกิจใหม่
2. Lack of business process ขาดความเข้าใจในกระบวนการธุรกิจใหม่
3. Lack of marketing implementation ขาดความเข้าใจในกลยุทธ์และการปฏิบัติการทางการตลาด
4. Lack of Investment idea ขาดความเข้าใจสภาะวะการลงทุนในกิจการใหม่
Solution :
ด้านบริหารจัดการ
1. การบริหารจัดการยังไม่ได้เริ่มต้นอย่างเป็นรูปธรรม เป็นเพียงการรวมตัวในหมู่ญาติและเพื่อนที่ช่วยเหลือกันรวมตัวกันทำ กิจการยังไม่ถือว่าเติบโตนักจึงยังไม่จำเป็นที่จะต้องระบบการจัดการเข้ามาช่วย
2. บุคลากรยังไม่มีการจ้างเพิ่มเติม แต่ใช้แรงงานภายในจากญาติและเพื่อนทำให้การค้าเดินไปอย่างต่อเนื่อง
3. กิจการยังขาดความชัดเจนใน Business Model และ Business Process จึงมีการพัฒนาบางอย่างที่มีความชำนาญเท่านั้น
ด้านการจัดซื้อและการผลิต
1. การจัดซื้อวัตถุดิบต้นน้ำทั้งหมด อาศัยความเป็นผู้อยู่ในวงการค้ามานานจึงมีเครือข่ายในการจัดหาได้
a. วัตถุดิบที่เป็นพืชสมุนไพร ที่ยังอยู่ในระยะการติดต่อและเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดสารพิษ หรือ อินทรีย์มาใช้ในการผลิต
b. ขวดและองค์ประกอบบรรจุภัณฑ์ใหญ่และเล็ก มีเครืองข่ายที่สามารถสั่งผลิตได้
2. วิธีการผลิต ยังเป็นการดำเนินการภายในครัวเรือน มีข้อตกลงในการควบคุมมาตรฐานสูตร และความสะอาดซึ่งกันและกันในระหว่างผู้ผลิตหลายคน
3. กำลังการผลิตอยู่ที่ประมาณ 300 ขวด ต่อวัน (ตามการประมาณการณ์)
4. อำนาจต่อรองทางการค้ากับคู่ค้าจึงมีน้อยด้วยเช่นกัน ต้นทุนผลิตภัณฑ์จึงยังสูง ทำให้ราคาสินค้าสูง หรืออีกนัยหนึ่งคือ กำไรต่อชิ้นค่อนข้างน้อย
ด้านการตลาด
1. ผลิตภัณฑ์มีหลักมี 3 ผลิตภัณฑ์ด้วยกันคือ
– สูตรธรรมดา
– สูตรเข้มข้น
– สูตร Advance (ช่วยย่อย และลดอาการท้องอืด)
ตัวผลิตภัณฑ์ทั้งหมดยังไม่ได้ขอ อย. จึงมีความยากในการวางตลาดอย่างแพร่หลาย
2. เนื่องจากมีกำลังการผลิตน้อย การจัดทำโครงสร้างต้นทุนจึงยังไม่ได้จัดทำอย่างครบถ้วน
3. กิจการยังขาดความรู้ทางด้านการตลาดทั้งระบบเพื่อที่จะนำสินค้าเข้าสู่ตลาดได้โดยง่าย
จากการวิเคราะห์ สู่การลงมือทำ ซึ่งต้องอาศัยความชำนาญในด้านการวางแผนการตลาดของที่ปรึกษา และการลงมือทำอย่างจริงจังตาม Time line จากความฝัน สู่ความจริง
ติดต่อสอบถามหลักสูตร/โครงการ @shiningconsult
-
BCG Model เป็นเพียงกระแส หรือ ความมุ่งมั่น สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เรียบเรียงโดย อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ขณะที่เราเผชิญปัญหาจากสถานการณ์โควิด19 นั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นไม่เพียงการระวังร...
-
BCG Model ความเป็นมา และเป็นไปอย่างมีรูปธรรม เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความเป็นมาBCG Model เป็นที่รู้กันมานานแล้วว่า เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ...
-
17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก เรียบเรียงโดย อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs : Sustainable Development Goals) เกิดขึ้นจากการรับรองของสมาชิกสหประชาชาต...
-
การสร้างและรักษาวัฒนธรรมองค์กรในเชิงบวก เรียบเรียงโดย อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker)กูรูด้านการบริหารระดับโลก บิดาแห่งการบริหารจัดการ ได้เคยกล่าวไว้ว่า “Cu...
-
ความแตกต่างระหว่างMentoring, Training, Coaching, Counseling and Consulting เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ทำไมเราต้องมารู้คำจำกัดความและหน้าที่ของคนเหล่านี้ เพราะในที่สุดก็คือผู้ใช้...
-
5 โมเดลค่าจ้างที่ปรึกษา : คำถามคาใจเมื่ออยากใช้บริการ เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต Paint Point อย่างหนึ่งในใจผู้จ้างงานที่ปรึกษา “ความกลัว” เรื่อง “ค่าจ้าง” เพราะในสถานการณ์ทั่วไป...
-
การสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ (Business networking) เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต การสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ เป็นการสร้างสังคมทางธุรกิจประเภทหนึ่ง หรือเป็นอีกหนทางหนึ่งที่ช่วยให้นักธุ...
-
การปรับตัวและใช้ดิจิทัลเทคโนโลยี ก้าวสู่ Digital Business และการพัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการ เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต การอบรมเชิงปฏิบัติการ "การปรับตัวและใช้ดิจิทัลเทคโนโลยี ก้า...
-
การให้คำปรึกษาแนะนำเชิงลึกในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัล เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการประกอบธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปล...
-
Social Business คืออะไร ทำอะไร อย่างไร? เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 4 ธุรกิจนี้ ต่างกันตรงไหน แยกไม่ออก… 1. โอทอป (OTOP)2. วิสาหกิจชุมชน (Small and Micro community Enterprise–SMC...
-
นิยาม SMEs ตามประเภทธุรกิจ 1. บุคคลธรรมดา ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วนสามัญ และคณะบุคคล 2. นิติบุคคล ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห...