Culture : วัฒนธรรมต้องเรียนรู้อะไรบ้าง
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต
กระแสประชาคมอาเซียน ทำให้มีหลายคนอยากศึกษาวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้าใจ ติดต่อได้คล่อง ไปเที่ยวได้สนุก ปรับตัวเข้ากับผู้คนประเทศเพื่อนบ้านได้ แต่พอได้ลงมือก็เกิดคำถามว่า แล้ววัฒนธรรมคืออะไร แล้วต้องรู้อะไรบ้าง ตอบแบบง่าย ๆ ได้ว่า วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิต หรือ “Way of life” ตั้งแต่อดีตที่สะท้อนความเป็นจริงในปัจจุบัน ซึ่งเกิดขึ้นจากทั้งเหตุการณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น และสิ่งที่เกิดขึ้นธรรมชาติในเขตภูมิศาสตร์ ที่ส่งผลให้ผู้คนมีวิถีชีวิตทีแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สิ่งที่ต้องเรียนรู้มีหลากหลาย สรุปได้ 4 ช่วงการเรียนรู้
1. เริ่มทำความรู้จัก
- ชื่อประเทศ ที่เป็นชื่อเต็ม ไม่ใช่แค่เรียกเล่น ๆ เพราะจะทำให้เราเข้าใจการปกครองของประเทศนั้น
- ที่ตั้งของประเทศ และเวลาตามเวลามาตรฐานที่ใช้ในการบอกเวลาทั่วโลก
- ช่วงเวลาสำคัญในประวัติศาสตร์
2. รู้เรื่องภาพรวมของประเทศ
- รูปแบบการปกครองและรูปแบบทางการเมือง
- การการทุจริตและดัชนีการรับรู้ในเรื่องการทุจริต
- นโยบายทางเศรษฐกิจ และการเจริญเติบโต
- ทรัพยากรหลัก
- เงินตรา และการแลกเปลี่ยน
- ดัชนีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- ความเอื้ออำนวยในกฎหมายทางการค้า การลงทุน ภาษี
- สิทธิพิเศษทางการค้า
- โครงสร้างพื้นฐาน (ระบบน้ำ ไฟ โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต)
3. รู้จักผู้คนขอประเทศนั้น
- ชื่อ-นามสกุล ใช้หลักการอะไร
- สัดส่วนเชื้อชาติของผู้คนในประเทศ
- ภาษาที่นิยมใช้
- ศาสนา และความเชื่อของผู้คนในประเทศ
- วันทำงาน วันหยุดสำคัญ
- ความนิยมในการแต่งกายไปทำงาน
- ความนิยมในการแต่งงานไปงาน เทศกาลสำคัญ
- ความนิยมในการแต่งกายนอกเวลาทำงาน
- การแนะนำตัว และมารยาทในการแนะนำตัว
- ธรรมเนียมนิยมในการประชุม และการใช้นามบัตร
- ความเป็นส่วนตัว พื้นที่ส่วนตัว
- ความกล้าและความขี้อาย
- สิ่งที่ซึ่งแสดงถึงความมีหน้าตาในสังคม
4. รู้จักการดำเนินชีวิต
- การตั้งบ้านเรือน
- ความนิยมใน ตลาด ห้าง ร้านค้าขนาดเล็ก
- การเรียน โรงเรียน เวลาเลิกเรียน
- ยานพาหนะที่เป็นที่นิยม
- วันหยุดและวันสำคัญ
- เทศกาลสำคัญ
- สถานที่สำคัญ
- คนสำคัญ คนดัง วีรบุรุษ นักกีฬาคนสำคัญ
- อาหารและเครื่องดื่มที่โดดเด่น
- การแบ่งเวลาและการใช้ชีวิตในเมือง และชนบท
- หัวข้อสนทนาที่เป็นที่นิยม
- เรื่องขำขัน และอารมณ์ขันของผู้คน
- การให้ของขวัญ
- การเข้าร่วมงานสำคัญ
พอต้องศึกษาเข้าจริง รู้สึกว่า “ทำไมต้องรู้มากมาย” คงจะอ่านกันแทบไม่ไหว จะมีใครเขียนเรื่องราวได้ขนาดนั้น หากเราคิดว่ายากก็ดูจะยากไปหมด แต่ถ้าเราเริ่มสักเรื่องเล็ก ๆ เรื่องหนึ่งที่เราสนใจ หรือเริ่มจากสิ่งที่เราชอบ เช่น คนในประเทศนี้ชอบเที่ยวที่ไหนกัน ใครเป็นดาราดัง แล้วก็เจาะประเด็นต่อไป ก็จะทำให้มีกำลังใจในการฟังเรื่องราวต่าง ๆ ของประเทศที่อยู่ในความสนใจของเราได้เป็นอย่างดี เมื่อเข้าใจกัน ก็ไปเที่ยวสนุก ติดต่องานก็ง่าย มีอะไรดีดีอีกเยอะ ถ้าคนเราเข้าใจกัน
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความสัมพันธ์ไทย-นาโต้ นายจอร์จ ดับเบิลยู. บุช (George W. Bush) ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (ณ ขณะนั้น) ได้มีการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แล...
-
NATO คือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือย่อมาจากNorth Atlantic Treaty Organisation เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต การก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ เกิดขึ้นในช่วง...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต Soft Power มีที่มาจากนายโจเซฟ เอส (Joseph S. Nye) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ของวิทยาลัยการปกครองเคเนดี้ แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ให้นิยามว่า อำนาจ หม...
-
Cambodia : กัมพูชา Indonesia : อินโดนีเซีย Laos : สปป.ลาว Malaysia : มาเลเซีย Myanmar : เมียนมา หรือ พม่า Negara Brunei Darussalam: เนอการาบรูไน ดารุซซาลาม Philippines : ฟิลิปปินส์...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความหลากหลายทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของอาเซียน ของกลุ่มประชาคมอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บูรไนดารุสซาลา...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ประเทศไทยเราได้ก่อตั้งมูลนิธิบางกอกอาร์ตเบียนนาเล่ (บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ : Bangkok Art Biennale)นับเป็นอีกหนึ่งประเทศในอาเซียน ที่มีความสามารถ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กระแสประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และภาพรวมเศรษฐกิจภายในประเทศที่นิ่ง ไม่ค่อยมีความเคลื่อนไหวไปในทางบวกสักเท่าไร ทำให้หลายคนมองถึงการค้ากับคนนอกประเทศม...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เคยถามหลายคนว่า ประเทศไทย ชื่อจริง ๆ ตามหลักการปกครอง ชื่ออะไร ก็มีหลายคนมองหน้าว่าเป็นการถามกวน ๆ หรือไม่ แต่ก็ตั้งใจถามจริงทุกครั้ง คำตอบที่ได้...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต มักมีคนกล่าวกันว่า การไปดูงานในต่างประเทศนั้น ก็แค่พากันไปเที่ยว หากเป็นภาครัฐ ก็อาจถูกมองว่า ผู้ที่เดินทางมักมีความต้องประสงค์ที่จะเพิ่มเติมความรู้คว...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต AECเป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations :ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญ ของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียน มีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดยนอ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ประเทศพม่า หรือ Myanmar มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา หรือ Republic of the Union of Myanmar เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ก่อนที่มาเป็นชื่อประเทศว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา หรือ เมียนมา เดิมคือชื่อ พม่า หรือ Burma มีการเปลี่ยนชื่อประเทศในครั้งนี้ รัฐบาลเมียนมา ต้อง...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ภายหลังการประชุมรัฐสภาเมียนมาเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2554 เมียนมาได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ปัจจุบันมีรูปแบบการ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ สปป.ลาว พื้นที่: 236,800 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 แขวง (จังหวัด) และ 2 เขตการปกครองพิเศษ (นครหลวงเวี...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต พื้นที่ : พื้นที่ประมาณ327,500ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้1,650กิโลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน นอกจากนี้ยังมีไหล่เขาและหมู่เกา...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ราชอาณาจักรกัมพูชา (Cambodia) พื้นที่ :181,035 ตร.กม. (พื้นดิน 176,525 ตร.กม. พื้นน้ำ 4,520 ตร.กม.) อาณาเขต : ทิศเหนือ ติดประเทศไทย (เขต จ.อุบลร...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เทศกาลน้ำ ประเพณีสำคัญของชาวกัมพูชา “เมืองแห่งสายน้ำ” ในอาเซียน กัมพูชาถือว่ามีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่เราเรียกว่า”โตนเลสาบ” อยู่กลางประเทศ หล่อหลอมเล...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 1. Royal Palace (พระราชวัง) 2. Cambodia National Museum (พิพิธภัณฑ์) 3. Tuol Sleng Genocide Museum (ตวล สเลง-ย้อนรอยคุกที่ไม่มีประตูออก) 4. Choeung Ek...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 1. มีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อย่างสม่ำเสมอ เฉลี่ย 7.0% 2. อัตราการขยายตัวของชนชั้นกลาง เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อเที่ยบกับใน CLMV 3. ขนาดประเทศเล็...
-
เรียบเรียงข้อมูลโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เขตเศรษฐกิจพิเศษ หมายถึง พื้นที่เฉพาะซึ่งได้รับมอบอำนาจการ บริหารบางประการเพื่อให้สามารถปกครองและ จัดการพื้นที่นั้นๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สัง...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต Celebrating the 28thAnniversary of Independence of Republic of Armenia ฉลองครบรอบ 28 ปี วันชาติของสาธารณรัฐอาร์เมเนีย (22 กันยายน 2562) 22 กันยาย...
-
เรียบเรียงโดย อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต โครงสร้างหลักของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปี 2025 ตามที่ระบุใน ASEAN Economic Community Blueprint 2025 นั้น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะประกอบไปด้วย 5 อ...