สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา

เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต

ภายหลังการประชุมรัฐสภาเมียนมาเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2554 เมียนมาได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ปัจจุบันมีรูปแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ

พื้นที่ 657,740 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1.3 เท่าของไทย)
อาณาเขต :

  • ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับจีน
  • ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับลาว และไทย
  • ทิศตะวันตกติดกับอินเดีย และบังกลาเทศ
  • ทิศใต้ติดกับทะเลอันดามันและอ่าวเบงกอล

 

 

ภูมิประเทศ :
ร้อยละ 50 เป็นภูเขาปกคลุมด้วยป่าไม้ ร้อยละ 19 เป็นพื้นที่เกษตรกรรม (ประมาณ 80 ล้านไร่) มีเทือกเขายาวจากเหนือจรดใต้ คือเทือกเขา Western Yoma Pegu Yoms และเทือกเขา Shan Plateau ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสำคัญ 3 สายของพม่า ได้แก่ อิระวดี (Irrawaddy) ซิสแตง (Sittang) และ สาละวิน (Salawin) มีพื้นที่ชลประทาน 15,920 ตารางกิโลเมตร

ภูมิอากาศ :
ร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 32 องศาเซลเซียส มี 3 ฤดู คือ
ฤดูฝน (พฤษภาคม – กันยายน)
ฤดูหนาว (ตุลาคม – กุมภาพันธ์)
ฤดูร้อน (มีนาคม – พฤษภาคม)

เมืองหลวง:  เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw)

เมืองสำคัญ :
ย่างกุ้ง : เป็นเมืองหลวงเก่าที่ยังมีความสำคัญ ประกอบด้วยชนชาติหลากหลายชาติพันธุ์ โดยมีชาวพม่าเป็นประชากรส่วนใหญ่ของมณฑลนี้และใช้ภาษาพม่าเป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีประชากรเชื้อสายแขก และจีนอยู่เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ ย่างกุ้งเป็นเมืองศูนย์กลางการค้ากระจายสินค้าไปสู่ภาคต่าง ๆ ของประเทศ นอกจากนี้ย่างกุ้งยังเป็นศูนย์กลางการค้า อัญมณี และการส่งออกไม้สักอีกด้วย กรุงย่างกุ้งมีเขตนิคมอุตสาหกรรมที่มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภคมากกว่าเมืองอื่น ๆ

หงสาวดี หรือ พะโค : เคยเป็นเมืองหลวงเดิมสมัยราชวงศ์ตองอู ปัจจุบันมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถานสำคัญได้แก่ เจดีย์ชเวมอดอว์, พระราชวังบุเรงนอง เมืองหงสาวดีในอดีต เป็นเมืองหลวงของรัฐพะโค อยู่ห่างจากเมืองย่างกุ้งประมาณ 80 กิโลเมตรประชากรส่วนใหญ่เป็นมอญและนับถือศาสนาพุทธ นอกจากนี้พะโคยังเป็นแหล่งปลูกข้าวและผลิตสินค้าเกษตรที่สําคัญ รวมถึงมีอุตสาหกรรม อาทิ โรงงานนํ้าตาล โรงงานทอผ้า และโรงงานเซรามิกส์

มันฑะเลย์ : เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1857 โดยพระเจ้ามินดง โดยตั้งชื่อตามภูเขามัณฑะเลย์ที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่งมีความสูง 775 ฟุต มัณฑะเลย์เป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทางตอนเหนือของพม่า และถือเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศรองจากย่างกุ้ง นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญบนเส้นทางการค้าระหว่างอินเดียกับจีน และรัฐบาลพม่ายังให้ความสำคัญโดยตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นในปี พ.ศ. 2533 ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทเข้ามาดำเนินการประมาณ 1,000 แห่ง ส่วนใหญ่เป็นโรงงานถลุงเหล็ก และโรงงานผลิตอุปกรณ์เครื่องจักรกล มัณฑะเลย์ยังเป็นเมืองศูนย์กลางคมนาคม มีทั้งท่าเรือและท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์

เมียวดี : เป็นเมืองทางด้านตะวันออกติดกับอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ของประเทศไทย  เป็นตลาดการค้าสำคัญ และจัดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เป็นอีกเมืองหนึ่งที่มีความสำคัญในการกระจายสินค้าไปยังเมืองต่างๆ ของเมียนมา

เมืองพุกาม : เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่สําคัญของพม่า เรียกอีกชื่อว่าดินแดนแห่งเจดีย์หมื่นองค์ซึ่งปัจจุบันองค์การยูเนสโก้ได้ขึ้นทะเบียนให้เป็นเมืองมรดกโลก “World Heritage Sites” สามารถเที่ยวได้ตลอดทั้งปีและจะงดงามมากที่สุดในช่วงฤดูฝน รัฐ บาลให้การสนับสนุนส่งเสริมเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2548 ได้เปิดหอชมวิว ซึ่งเป็นหอคอยสูง 13 ชั้น ที่มีความทันสมัยและครบวงจรอันประกอบ ด้วยศูนย์บริการทางธุรกิจสํานักงาน ร้านค้า ห้องฉายภาพยนตร์ ห้องประชุมภัตตาคาร ลอยฟ้าและจุดชมวิว นอกจากนี้ยังได้มีการเปิดโรงแรมที่สร้างด้วยไม้สักทั้งหลังตามแบบศิลปะและสถาปัตยกรรมแห่ง ชาติโดยการลงทุน ของนักลงทุนท้อง ถิ่น ได้แก่ ธุรกิจท่องเที่ยว เช่นโรงแรม รีสอร์ท และสนามกอล์ฟ

เมืองทวาย : เป็นเมืองหลวงของรัฐตะนาวศรี ประเทศไทยได้ร่วมลงนามในบันทึกความเข้า ใจเรื่องการพัฒนาท่าเรือนํ้าลึกและพัฒนาถนนเชื่อมโยงระหว่างท่าเรือนํ้าลึกทวายมายังไทยด้านบ้านนํ้าพุร้อน จังหวัดกาญจนบุรี นอกจากนี้ทวายยังอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรแร่ธาตุ เช่น ดีบุกและทังสเตน มีนักลงทุนเข้าไปบุกเบิกจํานวนไม่มากนัก มะริด ปัจจุบันเป็นเมืองท่าทางการประมงและศูนย์กลางการค้าไข่มุกที่ส่ำคัญ ของเขตตะนาวศรี นอกจากนี้ทางการพม่ายังมีแผนในการพัฒนาหมู่เกาะมะริดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวในอนาคตด้วย

ท่าขี้เหล็ก : ตั้งอยู่ในรัฐฉานอยู่ตรงข้ามอําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เป็นเมืองชายแดนมีความสำคัญเพราะอยู่ในแนวเส้นทางย่อยหมายเลข R3Wของเส้นทางหมายเลข R3 North-South Economic Corridor (NSEC) โดยสามารถเชื่อมต่อกับจีนตอนใต้ถึงเมืองคุนหมิง จึงเป็นช่องทางกระจายสินค้าจากประเทศไทยไปยังเมืองต่างๆของประ เทศพม่าตอนใน และจีนตอนใต้

ทรัพยากร :

  • ป่าไม้ : ไม้สัก ไม้แดง ไม้ประดู่
  • แร่ธาตุ : ทองแดง ตะกั่ว ทองคำ สังกะสี เงิน ดีบุก ทังสเตน พลวง
  • อัญมณี : หยก ไข่มุก ไพลิน นิล อความารีน มรกต บุษราคัม
  • น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ

สัตว์น้ำ : ปลา (ปลาดุก, ปลาแมคาเรล, ปลาทูน่า, ปลากะพง, ปลาไหล, ปลาจาระเม็ด) กุ้ง ปลาหมึก หอย ฯลฯ

ประชากร : มีประมาณ 51 ล้านคน

ภาษาประจำชาติ และภาษาราชการที่ใช้ :  เมียนมา/พม่า

สำหรับด้านภาษาคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเมียนมา ใช้เพียงภาษาเดียว คือ ภาษาพม่า หรือเมียนมา ทั้งประเทศ ซึ่งภาษาพม่าถูกยกขึ้นมาเป็นภาษากลางสำหรับการสื่อสารของคนในชาติ แต่สำหรับภาษายังมีความแตกต่างไปอีกในแต่ละรัฐ เช่น รัฐมอญ รัฐกะเหรี่ยง รัฐกะยา รัฐฉิน รัฐฉาน เป็นต้น ซึ่งแม้กระทั้งกะเหรี่ยงเองภาษาก็ยังมีความแตกต่างกัน เพราะกะเหรี่ยงมีหลายชาติพันธุ์ เช่น กะเหรี่ยงโป กะเหรี่ยงสะกอ กะเหรี่ยงปะโอ บะเว เป็นต้น บางครั้งเมื่อเราเดินทางไปเมียนมา อาจจะงงว่าทำไมเค้าคุยกันไม่ค่อยเข้าใจ หรือไม่รู้ภาษากัน แปลภาษากันได้ยาก

ศาสนา: ศาสนาพุทธ (ร้อยละ 89) ศาสนาคริสต์ (ร้อยละ 5) ศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 4)

การปกครอง : รัฐสภาที่สมาชิกมาจากการเลือกตั้ง โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขประเทศและหัวหน้ารัฐบาล  มีเขตการปกครอง แบ่งการปกครองเป็น 7 รัฐ (state) สำหรับเขตที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อย และ 7 ภาค(region) สำหรับเขตที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นเชื้อสายพม่า

ประธานาธิบดีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา : นายทีนจอ

สกุลเงิน : จ๊าด (MMK)
เช็คค่าเงิน ณ เดือนตุลาคม 2560 1 บาท จะประมาณ 41 จ๊าด ที่มาของการเช็คค่าเงิน เข้าไปเช็คค่าเงินได้ที่ https://th.coinmill.com/MMK_THB.html#THB=1 


  • บทบาท ความสัมพันธ์ ไทยกับนาโต้ nato.png
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความสัมพันธ์ไทย-นาโต้ นายจอร์จ ดับเบิลยู. บุช (George W. Bush) ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (ณ ขณะนั้น) ได้มีการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แล...

  • องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ nato shining consult.png
    NATO คือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือย่อมาจากNorth Atlantic Treaty Organisation เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต การก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ เกิดขึ้นในช่วง...

  • soft power shining consult jiratha aganidat อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต.png
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต Soft Power มีที่มาจากนายโจเซฟ เอส (Joseph S. Nye) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ของวิทยาลัยการปกครองเคเนดี้ แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ให้นิยามว่า อำนาจ หม...

  • บทความอาเซียน asean.png
    Cambodia : กัมพูชา Indonesia : อินโดนีเซีย Laos : สปป.ลาว Malaysia : มาเลเซีย Myanmar : เมียนมา หรือ พม่า Negara Brunei Darussalam: เนอการาบรูไน ดารุซซาลาม Philippines : ฟิลิปปินส์...

  • asean ความหลากหลายทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของอาเซียน.png
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความหลากหลายทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของอาเซียน ของกลุ่มประชาคมอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บูรไนดารุสซาลา...

  • thailand biennale chiangrai 2023 Jiratha Aganidat shining consult.png
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ประเทศไทยเราได้ก่อตั้งมูลนิธิบางกอกอาร์ตเบียนนาเล่ (บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ : Bangkok Art Biennale)นับเป็นอีกหนึ่งประเทศในอาเซียน ที่มีความสามารถ...

  • ไปเที่ยวก่อนไปลงทุน asean วัฒนธรรมอาเซียน อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กระแสประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และภาพรวมเศรษฐกิจภายในประเทศที่นิ่ง ไม่ค่อยมีความเคลื่อนไหวไปในทางบวกสักเท่าไร ทำให้หลายคนมองถึงการค้ากับคนนอกประเทศม...

  • study business culter asean วัฒนธรรมอาเซียน อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กระแสประชาคมอาเซียน ทำให้มีหลายคนอยากศึกษาวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้าใจ ติดต่อได้คล่อง ไปเที่ยวได้สนุก ปรับตัวเข้ากับผู้คนประเทศเพื่อนบ้านได้ แต่พอได้ล...

  • คำนำหน้าชื่อประเทศ อาเซียน asia asean อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เคยถามหลายคนว่า ประเทศไทย ชื่อจริง ๆ ตามหลักการปกครอง ชื่ออะไร ก็มีหลายคนมองหน้าว่าเป็นการถามกวน ๆ หรือไม่ แต่ก็ตั้งใจถามจริงทุกครั้ง คำตอบที่ได้...

  • เตรียมตัวก่อนไปดูงานต่างประเทศ study tour project อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต มักมีคนกล่าวกันว่า การไปดูงานในต่างประเทศนั้น ก็แค่พากันไปเที่ยว หากเป็นภาครัฐ ก็อาจถูกมองว่า ผู้ที่เดินทางมักมีความต้องประสงค์ที่จะเพิ่มเติมความรู้คว...

  • กำเนิดอาเซียน association of south east asian nations อาจารย์จิรฐา shining consult .jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต AECเป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations :ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุ...

  • asean charter กฎบัตรอาเซียน  อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญ ของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียน มีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดยนอ...

  • myanmar ข้อมูลเมียนมา คนพม่า อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ประเทศพม่า หรือ Myanmar มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา หรือ Republic of the Union of Myanmar เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใ...

  • myanmar เมียนมา พม่า อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ก่อนที่มาเป็นชื่อประเทศว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา หรือ เมียนมา เดิมคือชื่อ พม่า หรือ Burma มีการเปลี่ยนชื่อประเทศในครั้งนี้ รัฐบาลเมียนมา ต้อง...

  • laos ประเทศลาว อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ สปป.ลาว พื้นที่: 236,800 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 แขวง (จังหวัด) และ 2 เขตการปกครองพิเศษ (นครหลวงเวี...

  • vietnam เวียดนาม อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต พื้นที่ : พื้นที่ประมาณ327,500ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้1,650กิโลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน นอกจากนี้ยังมีไหล่เขาและหมู่เกา...

  • Kingdom of Cambodia ราชอาณาจักรกัมพูชา อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ราชอาณาจักรกัมพูชา (Cambodia) พื้นที่ :181,035 ตร.กม. (พื้นดิน 176,525 ตร.กม. พื้นน้ำ 4,520 ตร.กม.) อาณาเขต : ทิศเหนือ ติดประเทศไทย (เขต จ.อุบลร...

  • cambodia สายน้ำ กัมพูชา โตนเลสาป อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เทศกาลน้ำ ประเพณีสำคัญของชาวกัมพูชา “เมืองแห่งสายน้ำ” ในอาเซียน กัมพูชาถือว่ามีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่เราเรียกว่า”โตนเลสาบ” อยู่กลางประเทศ หล่อหลอมเล...

  • cambodia phnom penh น่ารู้ ประเทศกัมพูชา อาเซียน อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 1. Royal Palace (พระราชวัง) 2. Cambodia National Museum (พิพิธภัณฑ์) 3. Tuol Sleng Genocide Museum (ตวล สเลง-ย้อนรอยคุกที่ไม่มีประตูออก) 4. Choeung Ek...

  • cambodia ประเทศกัมพูชา อาเซียน อาจารย์จิรฐา shining consult copy.jpg
    เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 1. มีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อย่างสม่ำเสมอ เฉลี่ย 7.0% 2. อัตราการขยายตัวของชนชั้นกลาง เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อเที่ยบกับใน CLMV 3. ขนาดประเทศเล็...

  • Special-Economic-Zones.jpg
    เรียบเรียงข้อมูลโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เขตเศรษฐกิจพิเศษ หมายถึง พื้นที่เฉพาะซึ่งได้รับมอบอำนาจการ บริหารบางประการเพื่อให้สามารถปกครองและ จัดการพื้นที่นั้นๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สัง...

  • Republic of Armenia church of amberd อาร์เมเนีย อาจารย์จิรฐา shining consult.jpg
    เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต Celebrating the 28thAnniversary of Independence of Republic of Armenia ฉลองครบรอบ 28 ปี วันชาติของสาธารณรัฐอาร์เมเนีย (22 กันยายน 2562) 22 กันยาย...

  • aec blue print 2025 asean economic community blueprint 2025 shining consult อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต.png
    เรียบเรียงโดย อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต โครงสร้างหลักของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปี 2025 ตามที่ระบุใน ASEAN Economic Community Blueprint 2025 นั้น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะประกอบไปด้วย 5 อ...