สาธารณรัฐอาร์เมเนีย : Republic of Armenia
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต
Celebrating the 28th Anniversary of Independence of Republic of Armenia
ฉลองครบรอบ 28 ปี วันชาติของสาธารณรัฐอาร์เมเนีย (22 กันยายน 2562)
22 กันยายน เป็นวันชาติของสาธารณรัฐอาร์เมเนีย (Armenia) หรือบางคนออกเสียงว่า อาร์มีเนีย หรือ สาธารณรัฐอาร์เมเนีย (Republic of Armenia) เป็นการฉลองวันชาติปีที่ 28 (เมื่อว้นที่ 22 กันยายน 2562) สำหรับประเทศไทยและประเทศอาร์เมเนียมีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกันมาเป็นเวลา 27 ปี
สาธารณรัฐอาร์เมเนีย เป็นประเทศเล็ก ๆ มีพื้นที่ประมาณ 6% ของประเทศไทย หรือขนาดเล็ก หากเทียบให้เห็นชัด ๆ มีพื้นที่ประมาณจังหวัดนครราชสีมากับสุรินทร์รวมกัน เท่ากับประเทศอาร์เมเนีย และเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ตั้งอยู่ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส (Caucasus) เขาที่กั้นพรมแดนระหว่างยุโรปและเอเชีย ท่ามกลางประเทศตุรกี จอร์เจีย อาร์เซอไบจัน และ อิหร่าน มีเมืองหลวงชื่อ เยเรวาน มีประชากรประมาณ 3 ล้านคน สินค้าส่งออกส่วนใหญ่ คือ เพชร พลังงาน อาหารและแร่ธาตุ
สาธารณรัฐอาร์เมเนีย เป็นหนึ่งใน สหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย หรือ Eurasian Economic Union (EAEU) ประกอบด้วยสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย คาซัคสถาน เบลารุส อาร์เมเนีย และคีร์กิซสถาน เป็นตลาดใหม่ที่มีศักยภาพของไทย EAEU เป็นสหภาพศุลกากรที่ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อปี 2558 เป็นตลาดขนาดใหญ่ที่มีประชากรกว่า 180 ล้านคน มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในปี 2560 เท่ากับ 1.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ มีการรวมกลุ่มในลักษณะสหภาพศุลกากร มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน และแรงงานอย่างเสรีระหว่างกัน มีมูลค่าการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม กว่า 5 แสนล้านเหรียญสหรัฐต่อปี และเป็นกลุ่มประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ รวมทั้งมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ประเทศไทยได้ยกระดับความสัมพันธ์กับยูเรเชีย สู่หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจลำดับที่ 27 ของไทย มีมูลค่า 3,318 ล้านเหรียญสหรัฐ และได้รับการอนุมัติกฏถิ่นกำเนิดสินค้าฉบับใหม่ สำรหับการให้สิทธิพิเศษภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป หรือที่เรียกย่อว่า GDP แก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งจะมีผลใช้บังคับในวันที่ 16 ม.ค. 2562 ทั้งนี้ไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาโดยจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางการค้าจาก EAEU
เงื่อนไขกฎถิ่นกำเนิดสินค้าฉบับใหม่ คือ ต้องได้มาโดยใช้วัตถุดิบภายในประเทศที่รับสิทธิทั้งหมด หรือผ่านการแปรสภาพอย่างเพียงพอก็ต่อเมื่อมูลค่าวัตถุดิบที่ไม่ได้ถิ่นกำเนิด ต้องไม่เกิน 50% ของมูลค่าสินค้าส่งออก ณ ราคาหน้าโรงงาน โดยสามารถนำวัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศกำลังพัฒนาและประเทศสมาชิก EAEU มานับรวมเป็นวัตถุดิบภายในประเทศผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายในประเทศกำลังพัฒนา จะถือว่าได้ถิ่นกำเนิดและสามารถได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีจาก EAEU ได้ แม้ว่าเราจะได้สิทธิพิเศษทางการค้า แต่สิ่งที่นักธุรกิจต้องมองด้วยก็คือ เมื่อนำเข้าไปแล้วและราคารวมกับภาษีที่เกี่ยวข้อง เช่น VAT หรือ แม้แต่ภาษีธุรกิจ จะส่งผลต่อราคาขายอย่างไร มีอัตราที่สูงกว่าคู่แข่งขันในสินค้าเดียวกันของประเทศอื่นหรือไม่
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความสัมพันธ์ไทย-นาโต้ นายจอร์จ ดับเบิลยู. บุช (George W. Bush) ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (ณ ขณะนั้น) ได้มีการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แล...
-
NATO คือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือย่อมาจากNorth Atlantic Treaty Organisation เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต การก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ เกิดขึ้นในช่วง...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต Soft Power มีที่มาจากนายโจเซฟ เอส (Joseph S. Nye) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ของวิทยาลัยการปกครองเคเนดี้ แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ให้นิยามว่า อำนาจ หม...
-
Cambodia : กัมพูชา Indonesia : อินโดนีเซีย Laos : สปป.ลาว Malaysia : มาเลเซีย Myanmar : เมียนมา หรือ พม่า Negara Brunei Darussalam: เนอการาบรูไน ดารุซซาลาม Philippines : ฟิลิปปินส์...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ความหลากหลายทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของอาเซียน ของกลุ่มประชาคมอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บูรไนดารุสซาลา...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ประเทศไทยเราได้ก่อตั้งมูลนิธิบางกอกอาร์ตเบียนนาเล่ (บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ : Bangkok Art Biennale)นับเป็นอีกหนึ่งประเทศในอาเซียน ที่มีความสามารถ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กระแสประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และภาพรวมเศรษฐกิจภายในประเทศที่นิ่ง ไม่ค่อยมีความเคลื่อนไหวไปในทางบวกสักเท่าไร ทำให้หลายคนมองถึงการค้ากับคนนอกประเทศม...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กระแสประชาคมอาเซียน ทำให้มีหลายคนอยากศึกษาวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้าใจ ติดต่อได้คล่อง ไปเที่ยวได้สนุก ปรับตัวเข้ากับผู้คนประเทศเพื่อนบ้านได้ แต่พอได้ล...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เคยถามหลายคนว่า ประเทศไทย ชื่อจริง ๆ ตามหลักการปกครอง ชื่ออะไร ก็มีหลายคนมองหน้าว่าเป็นการถามกวน ๆ หรือไม่ แต่ก็ตั้งใจถามจริงทุกครั้ง คำตอบที่ได้...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต มักมีคนกล่าวกันว่า การไปดูงานในต่างประเทศนั้น ก็แค่พากันไปเที่ยว หากเป็นภาครัฐ ก็อาจถูกมองว่า ผู้ที่เดินทางมักมีความต้องประสงค์ที่จะเพิ่มเติมความรู้คว...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต AECเป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations :ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญ ของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียน มีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดยนอ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ประเทศพม่า หรือ Myanmar มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา หรือ Republic of the Union of Myanmar เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ก่อนที่มาเป็นชื่อประเทศว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา หรือ เมียนมา เดิมคือชื่อ พม่า หรือ Burma มีการเปลี่ยนชื่อประเทศในครั้งนี้ รัฐบาลเมียนมา ต้อง...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ภายหลังการประชุมรัฐสภาเมียนมาเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2554 เมียนมาได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ปัจจุบันมีรูปแบบการ...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ สปป.ลาว พื้นที่: 236,800 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 แขวง (จังหวัด) และ 2 เขตการปกครองพิเศษ (นครหลวงเวี...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต พื้นที่ : พื้นที่ประมาณ327,500ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้1,650กิโลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน นอกจากนี้ยังมีไหล่เขาและหมู่เกา...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ราชอาณาจักรกัมพูชา (Cambodia) พื้นที่ :181,035 ตร.กม. (พื้นดิน 176,525 ตร.กม. พื้นน้ำ 4,520 ตร.กม.) อาณาเขต : ทิศเหนือ ติดประเทศไทย (เขต จ.อุบลร...
-
เรียบเรียงโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เทศกาลน้ำ ประเพณีสำคัญของชาวกัมพูชา “เมืองแห่งสายน้ำ” ในอาเซียน กัมพูชาถือว่ามีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่เราเรียกว่า”โตนเลสาบ” อยู่กลางประเทศ หล่อหลอมเล...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 1. Royal Palace (พระราชวัง) 2. Cambodia National Museum (พิพิธภัณฑ์) 3. Tuol Sleng Genocide Museum (ตวล สเลง-ย้อนรอยคุกที่ไม่มีประตูออก) 4. Choeung Ek...
-
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต 1. มีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อย่างสม่ำเสมอ เฉลี่ย 7.0% 2. อัตราการขยายตัวของชนชั้นกลาง เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อเที่ยบกับใน CLMV 3. ขนาดประเทศเล็...
-
เรียบเรียงข้อมูลโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เขตเศรษฐกิจพิเศษ หมายถึง พื้นที่เฉพาะซึ่งได้รับมอบอำนาจการ บริหารบางประการเพื่อให้สามารถปกครองและ จัดการพื้นที่นั้นๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สัง...
-
เรียบเรียงโดย อาจารย์จิรฐา อัคนิทัต โครงสร้างหลักของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปี 2025 ตามที่ระบุใน ASEAN Economic Community Blueprint 2025 นั้น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะประกอบไปด้วย 5 อ...