รูปแบบค่าจ้างที่ปรึกษา
5 โมเดลค่าจ้างที่ปรึกษา : คำถามคาใจเมื่ออยากใช้บริการ
เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต
Paint Point อย่างหนึ่งในใจผู้จ้างงานที่ปรึกษา “ความกลัว” เรื่อง “ค่าจ้าง” เพราะในสถานการณ์ทั่วไป มักไม่ค่อยมี ใครออกมาบอกกันว่าจะต้อง มีสนนราคาที่เท่าไหร่ จึงจะเหมาะสม ทำให้เกิดทัศนคติเชิงลบโดยมักมีคำกล่าวอ้างว่า “แพง” หรือ “คนนอกไม่มีทางรู้เรื่องดีเท่าคนใน” ในองค์ธุรกิจจำนวนมากยังไม่คุ้นเคยกับการจ้างที่ปรึกษาจึงมักคำนึงถึงความคุ้มค่าเมื่อต้องมีบุคคลภายนอกเข้ามาเกี่ยวข้องในบริษัท ด้วยเหตุนี้การแบ่งปันความรู้ด้านโมเดลการคิดค่าที่ปรึกษาโดยทั่วไปจึงรวบรวมไว้เพื่อได้เป็นต้นแบบความคิดถึงความคุ้มค่าและคุ้มราคาที่เหมาะสมกันไปในแต่ละความต้องการขององค์กร ซึ่งอาจทำให้เห็นถึงความคุ้มค่าได้ เช่น การจ่ายน้อยเพื่อตอบโจทย์ปัญหาเล็ก การจ่ายปานกลางเพื่อแก้ไขปัญหาระยะที่ยาวกว่า เป็นต้น ในการนี้จึงรวบรวม 5 โมเดลค่าจ้างที่ปรึกษามาให้เรียนรู้กัน
-
โมเดลที่ 1 การจ้างที่ปรึกษารายชั่วโมง (Hourly Billing) หรือบางครั้งเรียกว่า Man-hour เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต กรณีการจ้างที่ปรึกษาเป็นรายชั่วโมง มักจะเป็นการปรึกษาในกรณีที่ไม่...
-
โมเดลที่ 2 การจ้างที่ปรึกษารายวัน (Consulting Daily Rates)หรือบางครั้งอาจเรียกว่าMan-day เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต เรามักเห็นโมเดลการจ้างแบบนี้กับการทำงานภายใต้การจ้างงานภาครัฐ...
-
โมเดลที่ 3 การจ้างที่ปรึกษารายเดือน (Consulting Retainers) หรือบางครั้งอาจเรียกว่า Full Time เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต รูปแบบนี้ในประเทศไทยคุ้นชินกันดีอยู่แล้ว มักเห็นที่ปรึกษา...
-
โมเดลที่ 4 การจ้างที่ปรึกษาโครงการ (The Project-base Method) เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ที่ปรึกษาโครงการเป็นอีกโมเดลหนึ่งที่สำคัญกับบางอุตสาหกรรมเช่น กลุ่มการก่อสร้าง อสังหาริมท...
-
โมเดลที่ 5 การจ้างที่ปรึกษาแบบกำหนดราคาตามมูลค่า (Value Base Pricing) เขียนโดยอาจารย์จิรฐา อัคนิทัต ส่วนใหญ่การจ้างที่ปรึกษาแบบ Value Base Pricing หมายถึง เป็นประเมินทั้งเชิงตัวเลข...